หนี้สินที่เกิดขึ้นก่อนแต่งและหลังแต่งเป็นของใครกันนะ?

หนี้สินที่เกิดขึ้นก่อนแต่งและหลังแต่ง
หนี้สินที่เกิดขึ้นก่อนแต่งและหลังแต่ง
สมัครรถแลกเงินโปรโมชั่น แจกฟรี Voucher Lazada

สำหรับหนี้สินที่เกิดขึ้นหลังจากที่ได้มีการจดทะเบียนสมรสกันแล้ว โดยปกติแล้วจะเป็นหนี้แบบส่วนตัวที่คล้ายกับกรณีของหนี้สินที่ได้เกิดขึ้นก่อนจดทะเบียนสมรส หากได้มีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ได้มีการก่อภาระหนี้ และไม่สามารถทากรจ่ายชำระหนี้ก้อนนั้นได้ ก็ทำให้ต้องนำสินสอนมาชำระหนี้ และถ้าสินสอนไม่เพียงพอ ก็จะมีการนำสินสมรสส่วนตัวนั้นมาทำการชำระหนี้กันต่อไปนั่นเอง แต่ทั้งนี้จะมีหนี้สิน อยู่ 4 ประเภทด้วยกัน ที่เป็นหนี้และรวมทั้งสองฝ่าย คือ ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายใดก็จะเป็นผู้ก่อหนี้ ก็ต้องมีวามรับผิดชอบร่วมกัน โดยที่จะมีการใช้หลักทั้ง 4 ประเภทนี้ ถ้าอย่างนั้นมาดูรายละเอียดกันเลยดีกว่า

1.หนี้สินที่มีความเกี่ยวกับสินสมรส  หากได้มีการยืมเงินเพื่อมาต่อเติมที่บ้าน โดยที่บ้านหลังนี้ เป็นสินสมรส หนี้ก้อนนี้ก็จะถือได้ว่าเป็นหนี้ร่วมกันนั่นเอง ซึ่งทางภรรยาที่จะต้องมีการร่วมมือและช่วยรับผิดชอบ เพื่อให้หนี้ดังกล่าวหมดลงได้อย่างรวดเร็ว

2.หนี้สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่เกิดขึ้น เพื่อประโยชน์ของตนเองฝ่ายเดียว แต่อีกฝ่ายหนึ่งได้ ให้มีการสัตยาบัน ซึ่งในการสัตยาบัน ก็จะทำให้หนี้ดังกล่าวกลายเป็นหนี้ร่วมที่ทั้ง 2   ฝ่าย ก็จะต้องรับผิดชอบร่วมกัน

3.หนี้ที่มีการเกี่ยวกับการจัดการบ้านเรือนและสิ่งจำเป็นทางครอบครัว ซึ่งหนี้สินที่เกี่ยวกับการเลี้ยงดู ในการรักษาพยาบาลคนในครอบครัว ในการศึกษาบุตร โดยจะมีการใช้กฎหมายในการระบุว่า จำนวนบุคคลและจำนวนของหนี้ จะต้องสมเหตุสมผลตามอัตภาพกันนั่นเอง

4.หนี้ที่เกิดจากอาชีพการทำงานที่ทำร่วมกันในระหว่างคู่สมรส หากสามีและภรรยามีการทำธุรกิจร่วมกัน ทั้งคู่ก็ต้องมีการรับผิดชอบภาระหนี้สิน ในการทำธุรกิจร่วมกัน แม้ว่าชื่อของลูกหนี้จะกลายเป็นชื่อของคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งก็ตาม ก็ต้องมีการชำหนี้ หรือช่วยกัน เพื่อให้ผ่านพ้นในช่วงนี้ไปได้ ซึ่ง ภรรยาและสามี เมื่อได้จดทะเบียนสมรสกันแล้ว ก็ถือได้ว่าเป็นครอบครัวเดียวกัน ที่จะต้องช่วยแหลือซึ่งกันและกัน แต่ในกรณีที่ภรรยาเป็นหนี้ร่วมกัน ในการบังคับการชำระหนี้ ทางเจ้าหนี้เองจะยึดสินส่วนตัว หรือสินสมรสก่อนก็ได้ หากเจ้าหนี้ต้องมีการยึดสินส่วนตัว ก็จะสามารถทำการเลือกได้ว่า จะยึดสินส่วนตัวของฝ่ายใดก่อนนั่นเอง

ดังนั้น ก่อนเป็นหนี้สิน ทั้งสองฝ่ายควรหันหน้าเข้าหากัน พูดคุยกัน เพื่อเป็นการรับรู้ถึงสถานะทางด้านการเงินของครอบครัว และเมื่อมีภาระหนี้เกิดขึ้นร่วมกันของคู่สมรส ในการร่วมมือร่วมใจในการบริหารเงินหรือรายได้และรายจ่ายต่าง ๆ ก็จะช่วยลดปัญหาการค้างชะระหนี้ได้เช่นกัน ทำให้ไม่ต้องพบกับการยึดทรัพย์จากทางเจ้าหนี้กันเลย หากคุณเองกำลังประสบปัญหาเหล่านี้กันเลย ซึ่งหนี้ที่คู่สมรสได้มีการก่อขึ้น ทำให้ต้องช่วยกัน ปลดหนี้ เพื่อให้ชีวิตดูดีมากยิ่งขึ้น ทำให้ในทุกวันนี้ บางคนมีหนี้ ก็อาจจะเลิกรากันไป แต่บางคู่ก็ช่วยกัน เพื่อครอบครัว และนี่ก็ถือได้ว่า เป็นข้อมูลดี ๆ ที่มีการนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ กับเรื่องหนี้ที่คุณเองต้องพิจารณาให้เป็นนอย่างดี เพื่อให้การปลดหนี้นี้หมดลงไปได้รวดเร็ว